เรื่องเล่าของเรา

โครงการ “ร้อยพลังการศึกษา”

โค้งสุดท้ายของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

โค้งสุดท้ายของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ถือเป็นช่วงเวลาแห่งการตัดสินใจครั้งสำคัญในชีวิตของนักเรียนมัธยมปลายหลายคน และเป็นหนึ่งในช่วงเวลาที่พวกเขาควรได้รับการชี้แนะมากที่สุด “เลือกเรียนคณะอะไรดี” “ถ้าจะเข้าคณะนี้ ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง”  ...

กระบวนการของอาชีฟ จุดไฟบางอย่างในตัวเรา

กระบวนการของอาชีฟ จุดไฟบางอย่างในตัวเรา

ทำให้เราว้าว!! ว้าวนั้นก็คือ ทำให้เรารู้จักตัวเอง จะปรับตัวเข้าหาคนอื่นอย่างไร ทำให้เรารับฟังอย่างตั้งใจจริงๆ   ในปีแรกที่ครูศิริพร คำชวด หรือครูหนิง เริ่มสอนที่โรงเรียนวังข่อยพิทยา จ.นครสวรรค์ ครูหนิงสอนวิชาคณิตศาสตร์นักเรียนชั้น ม.ปลาย...

ต่างชนเผ่าแต่เราสามัคคี

ณ โรงเรียนห้วยน้ำขุ่นวิทยา จ.เชียงราย เด็กๆ ที่มาจากต่างชนเผ่า ทั้งจีนยูนนาน อาข่า อาเข่อ ลาหู่ มักจะยกพวกตีกันเป็นประจำ ผอ.กับคุณครูจึงช่วยกันคิดว่า จะทำยังไงให้เด็กนักเรียนของเราเกิดความสามัคคีกัน? หลังจากการปรึกษาหารือระหว่างผอ.และคณะครู  ทาง...

ผู้ให้จากการเห็นคุณค่าของสิ่งที่ได้รับ

ผู้ให้จากการเห็นคุณค่าของสิ่งที่ได้รับ

‘เอิร์น’ นักเรียนหญิง ชั้น ม.2 ที่คอยไปเรียงถาดอาหารกลางวัน จัดแถวน้องประถมเข้าโต๊ะรับประทานอาหาร  มีเด็กๆ หลายคนชอบเล่นกัน แกล้งกัน จนถาดข้าวหกเลอะเทอะ บางคนทำน้ำหกใส่ข้าว เอิร์นก็จะพาน้องไปเปลี่ยนถาดข้าว พอน้องทานอาหารเสร็จ...

เด็กแสบที่กลายเป็นแบบอย่าง

เด็กแสบที่กลายเป็นแบบอย่าง

‘นิล’ นักเรียนที่ครูได้ยินชื่อแล้วต้องส่ายหน้า เป้าหมายการมาโรงเรียนของเขา คือการไปเล่นบอลอย่างเดียว นิลเคยโดดเรียนเพื่อไปเตะบอลถึง 6 คาบ/วัน เวลาถูกครูไล่ นิลก็จะหนีไปนั่งเล่นในห้องน้ำ ไม่ขึ้นเรียน บ้างก็โดดเรียนออกไปเล่นเกม...

มาโรงเรียนไม่ได้เงินออกไปทำงานดีกว่า…

มาโรงเรียนไม่ได้เงินออกไปทำงานดีกว่า…

“ผมอยากเป็นไกด์ แต่ยังพูดภาษาอังกฤษไม่ได้เลย ส่วนเพื่อนที่ลาออกไปตั้งแต่ ป.6 เป็นไกด์ที่ปางช้าง หาเงินได้ตั้งเยอะ” คำพูดของนักเรียนชาย ม.5 คนหนึ่งพูดกับ ผอ.ประเสริฐศักดิ์ เหมือนหาญ เขาอยากมีความรู้ มีทักษะที่จะไปประกอบอาชีพได้...

“ปัญหาก็เหมือนยาขม”

“ปัญหาก็เหมือนยาขม”

“น้อยหน่า” สาวน้อยเสียงเพราะเธอไปประกวดร้องเพลงตามเวทีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเวทีงานวัดไปจนถึงการแข่งขันระดับภาคเธอก็คว้ารางวัลชนะเลิศมาแล้ว...

ยังจำตอนที่ใช้ iPhone หรือ สมาร์ทโฟน (Smart Phone) ครั้งแรกได้ไหม?

ยังจำตอนที่ใช้ iPhone หรือ สมาร์ทโฟน (Smart Phone) ครั้งแรกได้ไหม?

จากมือถือมีปุ่มเปลี่ยนมาใช้มือถือไร้ปุ่มกด ตอนที่หลายคนใช้ครั้งแรก อาจรู้สึกว่ามันยาก ความยากนั้นคงเป็นเพราะเรา “ไม่เคยชิน” กับการใช้งาน ทุกครั้งที่เริ่มอะไรใหม่ ๆ เรามักจะรู้สึกว่า ‘มันยาก ’ แต่ถ้ามองให้ลึกลงไป ในความยากนั้นกำลังส่งสัญญาณบอกว่าเรากำลัง...

ครูคิดดีแล้วหรอ จะมาสอนที่นี่ !!

ครูคิดดีแล้วหรอ จะมาสอนที่นี่ !!

“ใหญ่” นักเรียนสุดเฮี้ยว ขณะที่ครูสอน  ใหญ่มักจะเคาะโต๊ะ ร้องเพลง ตั้งวงดนตรี หรือวาดรูปที่ขาของเพื่อน  ท่าทางของใหญ่ ก็ทำตัวใหญ่สมชื่อ เขาคือคนที่แกล้งเพื่อนแล้วเพื่อนไม่กล้าโต้ตอบ   ใหญ่เคยแกล้งเพื่อนคนหนึ่งที่กำลังตั้งใจเรียน โดยเริ่มจากการตบหัวเพื่อน...

“พ่อใหม่หนูเป็นคนต่างชาติ หนูหลบหน้า ไม่อยากพูดกับเขาเลย”

“พ่อใหม่หนูเป็นคนต่างชาติ หนูหลบหน้า ไม่อยากพูดกับเขาเลย”

น้องมุก นักเรียนชั้น ม.3 คนที่กลัวการใช้ภาษาอังกฤษมากๆ แม้กระทั่ง คุณพ่อชาวต่างชาติ มุกยังไม่ยอมคุยด้วย เธอมักจะหนีเข้าห้องไปดูการ์ตูนอยู่คนเดียวจนกระทั่ง มุกได้มาเรียนภาษาอังกฤษกับครูเต๋อ… ครูเต๋อ เป็น คุณครูในโครงการ Teach For Thailand...

คอมจะสอนดีกว่าครูได้อย่างไร?

คอมจะสอนดีกว่าครูได้อย่างไร?

“ครูครับ หูฟังผมไม่ดัง” “ครูคะ คอมหนูค้าง” “ครู เน็ตเข้าไม่ได้”  ลำพังแค่การออกแบบการสอนตามปกติก็ใช้เวลามากแล้ว แต่พอมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ามาทำให้ครูต้องทำงานหนักขึ้น 2 เท่า ครูกิ๊ก ครูคณิตฯ ที่ได้ใช้โปรแกรม “เลิร์นเอ็ดดูเคชั่น (Learn Education)”...

“รู้แล้วทำไมยังทำอีก”

“รู้แล้วทำไมยังทำอีก”

นักเรียนชั้น ม.5 คนหนึ่ง เล่าว่า.. เวลาที่เธอเข้าไปปรึกษาปัญหากับผู้ใหญ่ หลายครั้งที่เธอรู้ในสิ่งที่ตนเองทำผิดพลาด แต่การถูกตอกย้ำด้วยคำพูดเหล่านั้นยิ่งทำให้เธอตั้งกำแพงขึ้นมา และไม่กล้าไปปรึกษา เพราะ พื้นที่ตรงนั้นไม่ใช่ “พื้นที่ปลอดภัย” สำหรับเธอ ครูต้น...

“ผมเรียนจากการอ่านปากครู”

“ผมเรียนจากการอ่านปากครู”

‘เก้า’ นักเรียนชั้น ม.3  ผู้ชื่นชอบการเตะฟุตบอล แต่สิ่งที่เก้าชอบมากกว่าคือการนั่งมองไปที่สนาม เห็นเพื่อนๆแข่งบอลแล้วคิดว่าจะทำยังไงให้ทีมชนะ  เก้าชอบมองภาพว่าเพื่อนวิ่งจากจุดนี้ไปอีกจุดใช้เวลาประมาณเท่าไหร่ ในหัวของเก้าก็มักจะคาดคะเนคร่าวๆ แต่เวลาอยู่ในห้องเรียน...

โรงเรียนที่เราอยากส่งลูกหลานไปเรียนต้องเป็นอย่างไร?

โรงเรียนที่เราอยากส่งลูกหลานไปเรียนต้องเป็นอย่างไร?

โรงเรียนที่เราอยากส่งลูกหลานไปเรียนต้องเป็นอย่างไร? “ถ้าเป็นอย่างนี้ อยู่ไม่ได้แน่”  เมื่อ 11 ปีที่แล้ว ผอ.พจนพร จิตเจริญทวีโชค ได้เข้ามารับตำแหน่งผู้อำนวยการที่ ‘รุจิรพัฒน์’ โรงเรียนติดชายแดนไทย-พม่า อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี  ภาพแรกที่พบ...

ไม่ได้คิดว่าจะเป็นครู

ไม่ได้คิดว่าจะเป็นครู

‘แบงค์’  ผู้โตมาท่ามกลางสังคมเมืองกรุง เรียนหลักสูตรอินเตอร์ และเคยไปเรียนต่อที่ญี่ปุ่น เขาเคยคิดว่า “อาชีพครูงานหนัก เงินเดือนน้อย” จึงไม่ใช่อาชีพที่เขาอยากจะเป็น ตอนนั้นเขาคิดว่าต้องเป็นเภสัช...

เรื่องวันดีจากครูวันดี

เรื่องวันดีจากครูวันดี

ด.ช.วันดี กลับมาเรียนชั้น ม.1 หลังจากที่เขาหยุดเรียนไป 2 ปี ทำให้วันดีมีพื้นฐานน้อยกว่าเพื่อนในห้องเดียวกัน เวลาครูบอกคำสั่งอะไรก็ตามในห้องเรียน ครูต้องอธิบายหลายรอบกว่าวันดีจะเข้าใจว่าครูให้ทำอะไร การสื่อสารด้วยภาษาไทยในการเรียนวิชาทั่วไปว่ายากแล้ว...

ชีวิตกำลังสอนอะไรเราอยู่ ?

ชีวิตกำลังสอนอะไรเราอยู่ ?

ชีวิตใน 1 สัปดาห์ของ น้องไนท์ (นักเรียนชั้น ม.5) คือ การไปโรงเรียนวันจันทร์ ~ ศุกร์ และทำงานพิเศษวันเสาร์~ อาทิตย์ ไนท์ก็เหมือนจะต้องทำงาน 7 วันต่อสัปดาห์ ย้อนไปเมื่อ 5 ปีที่แล้วไนท์เรียนอยู่ชั้น ป.6...

ฉันไม่อยากเป็นครูที่ใจดีที่คุมชั้นเรียนไม่ได้

ฉันไม่อยากเป็นครูที่ใจดีที่คุมชั้นเรียนไม่ได้

ครูต๊งเหน่ง มีทัศนคติต่อตนเองว่าไม่อยากเป็นครูที่ดุ ไม่ชอบการออกคำสั่งกับนักเรียน ทำให้ครูต๊งเหน่งรู้สึกไม่มั่นใจเวลาที่ต้องตักเตือนนักเรียน อย่างเช่น ห้องเรียนที่โรงเรียนไม่มีโต๊ะและเก้าอี้ ทำให้เด็กๆ ต้องนั่งเรียนที่พื้น เวลาเรียนไปนานๆ เด็กก็เริ่มจะเลื้อย...

เด็กน้อย ครูไม่พอ โรงเรียนห่างไกล ใครจะไปเรียน?

เด็กน้อย ครูไม่พอ โรงเรียนห่างไกล ใครจะไปเรียน?

เมื่อปี 2558  ณ โรงเรียนวังข่อยพิทยา จ.นครสวรรค์ โรงเรียนที่ได้ชื่อว่าเป็น ‘โรงเรียนมัธยมประจำตำบล’ แต่มีนักเรียน ม.1 – ม.6 เพียงร้อยกว่าคนครูที่นี่ อยู่กันปี สองปี ก็ย้ายกลับบ้านต่างจังหวัด (เนื่องจากนโยบายขณะนั้น อนุญาตให้ครูบรรจุใหม่ที่อยู่ครบ 2 ปี...

ลงทะเบียนร่วมสร้างการเปลี่ยนแปลงกับเรา